โรคไอพีดี(IPD)

โรคไอพีดี (IPD)

ไอพีดี (IPD) กลุ่มโรคยอดนิยมในเด็กที่มากับหน้าฝน ภัยร้ายใกล้ตัวเด็กๆโดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี สาเหตุที่ทำให้เด็กพิการหรือเสียชีวิต 

สาเหตุของโรคไอพีดี

สาเหตุของโรคไอพีดี

โรคไอพีดี (IPD) : Invasive Pneumococcal Disease เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า นิวโมคอคคัส หรือชชื่อเต็ว่า Streptococcus pneumonia เชื้อชนิดนี้พบได้ทั่วไปในโพรงจมูกและลำคอสามารถแพร่กระจายสู่ผู้อื่นได้ง่ายคล้ายโรคไข้หวัดผ่านทางการไอหรือจาม น้ำมูก น้ำลาย เชื้อชนิดนี้จะมีชีวิตอยู่ภายในอากาศได้นานกว่าปกติ จึงทำให้เกิดโรคได้ในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะในเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันโรคบกพร่องและผู้ที่มีโรคประจำตัวตัว โรคนี้สามารถก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ เช่น โรคไซนัส โรคหูชั้นกลางอักเสบหรือโรคหูน้ำหนวก โรคปอดอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ และสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อในกระแสเลือดอย่างรวดเร็วและรุนแรงค่ะ ทั้งนี้องค์การอนามัยโลกระบุว่าโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัสเป็นสาเหตุอันดับ 1 ของการเสียในชีวิตในเด็กที่อายุต่ำกว่า 5 ปีค่ะ

อาการของโรคไอพีดี

อาการของโรคไอพีดี

โรคไอพีดีมีระยะฝักตัว 3 วันนับจากวันที่ได้รับเชื้อ โดยจะมีอาการผิดปกติแสดงออกมาได้หลากหลายขึ้นอยู่กับอวัยวะที่เกิดการติดเชื้อ โดยมีทั้งหมด 4 โรคที่มีความรุนแรงและอาจทำให้เด็กพิการหรือเสียชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ดังนี้

  • โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะมีอาการไข้สูง อาเจียน มีอาการซึมหรืองอแง บางรายอาจจะมีอาการชักเกร็งตัวแข็งคอแข็ง ซึ่งทำให้พิการหรืออาจเสียชีวิตได้ค่ะ
  • ติดเชื้อในกระแสเลือด เด็กจะมีไข้สูง งอแง การตรวจร่างกายอาจจะไม่เจอตำแหน่งการติดเชื้อที่ชัดเจน ในบางรายอาการอาจรุนแรงจนถึงขั้นช็อกหรือเสียชีวิตได้ค่ะ
  • โรคปอดอักเสบหรือปอดบวมที่เกิดจากเชื้อไอพีดี เด็กจะมีไข้สูง ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก หรือว่ามีหอบเหนื่อยร่วมด้วยค่ะ
  • โรคหูชั้นกลางอักเสบหรือหูน้ำหนวกเรื้อรัง แก้วหูทะลุ เด็กจะมีอาการไข้ขึ้นสูง ปวดหู งอแง หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องการติดเชื้ออาจลุกลามไปที่เอาวัดใกล้เคียงได้ หรืออาจทำให้การได้ยินบกพร่องซึ่งมีผลต่อการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กด้วยค่ะ

การรักษาโรคไอพีดี

การรักษาโรคไอพีดี

การรักษาโรคไอพีดีหลักๆจะมีด้วยกัน 2 ทางคือ

  • การติดเชื้อที่ไม่รุนแรง แพทย์จะทำการรักษาด้วยการให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมกับตำแหน่งการติดเชื้อนั้นๆค่ะ เช่น คออักเสบ หูน้ำหนวก หรือไซนัสอักเสบ ซึ่งสามารถให้ในรูปแบบยารับประทานได้
  • การรักษาประคับประคองตามอาการ ในกรณีการติดเชื้อแบบลุกลาม ซึ่งจำเป็นจะต้องได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที เช่น การติดเชื้อที่เยื่อหุ้มสมอง อาจทำให้เด็กชักเกิดความพิการของสมองปัญญาอ่อนได้ เป็นต้น

การป้องกันโรคไอพีดีในเด็ก

การป้องกันโรคไอพีดีในเด็ก

โรค IPD เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ และมีทางรักษาให้หายได้ค่ะ เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไอพีดี โดยวัคซีนป้องกันโรคไอพีดีสามารถให้เด็กตั้งแต่อายุ 2 เดือนเป็นต้นไป ถ้าเด็กอายุน้อยกว่า 2 ปีจะฉีดทั้งหมด 4 ครั้ง โดยแบ่งเป็น 2 เดือน 4 เดือน 6 เดือนและครั้งสุดท้าย 12-15 เดือน สำหรับกรณีเด็กอายุ 1 ถึง 5 ปีและไม่เคยฉีดวัคซีนป้องกันโรคไอพีดีมาก่อน ควรฉีดอย่างน้อย 1 ครั้งค่ะ นอกจากการฉีดวัคซีนแล้วการป้องกันที่ดีที่สุดอย่างหนึ่งก็คือ การรักษาสุขลักษณะส่วนบุคคล เช่น การล้างมือ ใส่หน้ากากอนามัยเวลาที่ผู้ป่วยมีอาการไอหรือจาม เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ และควรหลีกเลี่ยงสถานที่แออัดเสี่ยงต่อการติดเชื้อ หากพบอาการต้องสงสัยควรรีบพบแพทย์ทันทีค่ะ

การป้องกันสำคัญกว่าการแก้ไขเสมอค่ะ คุณพ่อคุณแม่ควรเริ่มเสริมสร้างภูมิคุ้มกันปกป้องลูกน้อยจากโรคต่างๆภัยร้ายใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้ามค่ะ

บทความที่เกี่ยวข้อง

  • https://tkjakartatimur.khoiruummah.id/mahjong/
  • https://tkjakartatimur.khoiruummah.id/qris/
  • https://sdsumedang.khoiruummah.id/smahjong/
  • https://sukabumi.khoiruummah.id/sdana/
  • https://acteaweb.org/bet400/
  • https://acteaweb.org/pulsa/
  • https://journal.literasihukum.com/mahjong/
  • https://journal.literasihukum.com/qris/
  • https://bandar168.store/
  • https://www.giathinhphatinterior.com/
  • https://www.okethelabel.com/
  • https://journal.moseskotaneinstitute.com/nas/liga367-pola-rtp/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/sj/
  • https://international.unitomo.ac.id/wp-content/languages/hl/
  • https://bpm.unitomo.ac.id/wp-content/uploads/yi/
  • https://library.stieppi.ac.id/stam/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/slsa/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/sris/
  • https://jurnal.fpok.upgripnk.ac.id/public/sloto/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/sesmi/
  • https://library.stieppi.ac.id/xthailand/
  • https://sastrainggris.ipbcirebon.ac.id/xmahjong/
  • https://prodi.sisteminformasi.global.ac.id/xpulsa/
  • https://jurnal.fpok.ikippgriptk.ac.id/public/xqris/
  • https://ejournalperawat.poltekkes-kaltim.ac.id/xdana/
  • https://sumateraconnect.or.id
  • https://pt-ads.co.id/
  • https://bandungprecast.com/
  • https://jasaaspalhotmixbandung.my.id/
  • https://tjvs.tu.edu.iq/
  • https://ojs.al-adab-journal.com/
  • https://insightfuljournals.com/
  • https://interaction.id/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sthailand/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/smahjong//
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xthailand/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xmahjong/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/slqris/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/schitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/scahitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/slopulsa/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sloqris/
  • stmedj.com
  • inmovil.org
  • journal.fisil.ubhara.ac.id
  • https://egyptscholars.org//
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot
  • https://egyptscholars.org/slot-thailand/
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot/
  • Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot Maxwin
  • https://v2.stieputrabangsa.ac.id/nity/
  • https://siakad-pben.unida-aceh.ac.id/infy/
  • https://ct.pt-sultra.go.id/site/
  • https://ct.pn-probolinggo.go.id/file/
  • https://sipp.pa-bawean.go.id/site/