ทารกตาแฉะ ขี้ตาเยอะ

ทารกตาแฉะ ขี้ตาเยอะอันตรายหรือไม่

ทารกตาแฉะ ขี้ตาเยอะอันตรายหรือไม่

สวัสดีค่ะ คุณพ่อคุณแม่สงสัยหรือไม่ว่าทำไม่ทารกตาแฉะ ขี้ตาเยอะและจะเป็นอันตรายหรือไม่ วันนี้เราจะพามาหาคำตอบกันค่ะ รวมถึงวิธีการดูแลดวงตาลูกน้อยค่ะ

ทารกช่วงอายุ 1-3 เดือนหลังคลอดในบางรายอาจพบว่ามีขี้ตาเยอะ อาการตาแฉะหรือน้ำตาไหล โดยสาเหตุที่พบบ่อยคือทารกมีท่อน้ำตาที่แคบทำให้เกิดการอุดตันของท่อน้ำตา หรือเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระหว่างการคลอด โดยอาจเป็นเพียงข้างเดียวหรือทั้งสองข้างค่ะและอาการที่พบ ได้แก่ มีของเหลวสีเหลืองหรือสีขาวที่มุมของดวงตาและอาจเปลี่ยนเป็นสีเขียวได้ อาจมีรอยแดงเล็กน้อยและเกิดการอักเสบรอบหรือใต้ตา หรือมีน้ำตาไหลซึ่งอาจเป็นผลมาจากการฉีกขาดของท่อน้ำตาค่ะ เป็นต้น นอกจากนี้อาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ เช่น กระจกตาอักเสบ เยื่อบุตาอักเสบ สิ่งแปลกปลอมเข้าตา เป็นต้น

การดูแลลูกน้อยเมื่อมีอาการตาแฉะหรือขี้ตาเยอะ โดยที่คุณพ่อคุณแม่สามารถทำได้ที่บ้านได้แก่

1. การทำความสะอาดด้วยน้ำอุ่นที่ต้มสุก ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุดโดยมีขั้นตอนดังนี้

  • ล้างมือคุณพ่อหรือคุณแม่ให้สะอาดก่อนการทำความสะอาดรอบดวงตาของลูกน้อย
  • นำสำลีชุบน้ำอุ่นที่ต้มสุกแล้วบีบสำลีหมาดๆ เริ่มต้นเช็ดจากหัวตาไปหางตาเบาๆ
  • เปลี่ยนสำลีใหม่และทำซ้ำจนกว่าขี้ตาของลูกน้อยจะหมดค่ะ
  • ควรเช็ดวันละ 2 – 3 ครั้ง หรือเวลาที่ลูกน้อยมีขี้ตาเยอะหรือตาแฉะ

2. การนวดหัวตา เป็นการนวดบริเวณที่อยู่ใกล้กับดวงตาและจมูกเบาๆอย่างน้อยรอบละ 20-30 ครั้ง ซึ่งจะช่วยในการเปิดท่อน้ำตาที่ถูกปิดกั้นอยู่และควรนวดอย่างน้อย 4 ครั้งต่อวัน

3. ยาป้ายตาปฏิชีวนะหรือยาหยอดตาปฏิชีวนะ การใช้ยาเพื่อรักษาอาการตาแฉะต้องปฏิบัติตามคำแนะนำของกุมารแพทย์อย่างเคร่งครัดไม่ควรซื้อยามาหยอดให้ลูกเองเด็ดขาดค่ะ

4. การผ่าตัดหรือการแยงท่อน้ำตา ในเด็กบางรายที่มีอาการรุนแรงหรือการดูแลรักษาเบื้องต้นแต่ไม่หาย แพทย์จะทำการผ่าตัดหรือการแยงท่อน้ำตาเพื่อแก้ไขภาวะท่อน้ำตาอุดตัน

5. การใช้น้ำนมแม่หยอดตา ซึ่งเป็นวิธีที่ทางการแพทย์ไม่มีข้อมูลสนับสนุนการใช้น้ำนมแม่หยอดตา แต่มีคุณแม่หลายท่านที่มีประสบการณ์จำนวนมากใช้น้ำนมแม่ เพื่อเช็ดสิ่งสกปรกที่ตกค้างออกจากดวงตาของลูกน้อยค่ะ

ภาวะตาแฉะหรือขี้ตาเยอะในเด็กทารกส่วนใหญ่จะไม่ร้ายแรงและสามารถรักษาได้เองด้วยการหมั่นทำความสะอาดค่ะ และอาการตาแฉะหรือขี้ตาเยอะในเด็กอันตรายหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสาเหตุของการเกิดโรคค่ะ คุณพ่อคุณแม่ควรหมั่นสังเกตอาการและดูแลดวงตาของลูกน้อย หากพกอาการผิดปกติหรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันทีค่ะ

  • https://sumateraconnect.or.id
  • https://pt-ads.co.id/
  • https://bandungprecast.com/
  • https://jasaaspalhotmixbandung.my.id/
  • https://international.unitomo.ac.id/wp-content/uploads/
  • https://tjvs.tu.edu.iq/
  • https://ojs.al-adab-journal.com/
  • https://insightfuljournals.com/
  • https://interaction.id/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sthailand/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/smahjong//
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xthailand/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/xmahjong/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/slqris/
  • https://my-klasiber.polhas.ac.id/schitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/scahitam/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/slopulsa/
  • https://satpolpp.inhilkab.go.id/sloqris/
  • stmedj.com
  • inmovil.org
  • journal.fisil.ubhara.ac.id
  • https://egyptscholars.org//
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot
  • https://egyptscholars.org/slot-thailand/
  • Slot Thailand
  • Thailand Slot/
  • Slot
  • Slot Deposit Pulsa 10k
  • Slot Maxwin
  • https://v2.stieputrabangsa.ac.id/nity/
  • https://siakad-pben.unida-aceh.ac.id/infy/
  • https://ct.pt-sultra.go.id/site/
  • https://ct.pn-probolinggo.go.id/file/
  • https://sipp.pa-bawean.go.id/site/